องค์ประกอบของการเรียนการสอน
|
การเรียนการสอน
แบบดั้งเดิม
|
การเรียนการสอน
แบบเชิงระบบ
|
1. กำหนดเป้าประสงค์
|
- ตำราหลักสูตรดั้งเดิมการอ้างอิงภายใน
|
- การประเมินความต้องการจำเป็น
- การวิเคราะห์งาน
- การอ้างอิงภายนอก
|
2. จุดประสงค์
|
- กล่าวในรูปของผลที่ได้รับรวมๆ
หรือการปฏิบัติของครู
- เหมือนกันสำหรับนักเรียนทุกคน
|
- จากการประเมินความต้องการจำเป็นต้องการวิเคราะห์/การประเมินงาน
-
เลือกด้วยการพิจารณาจากความสามารถของผู้เรียนเมื่อแรกเข้าเรียน
|
3.
จุดประสงค์ในความรู้เฉพาะของผู้เรียน
|
- ไม่ได้รับการบอกกล่าวล่วงหน้าต้องใช้สัญญาณจากการฟังคำบรรยายและการอ่านตำรา
|
- บอกกล่าวอย่างเฉพาะเจาะจงเป็นพิเศษล่วงหน้าก่อนเรียน
|
4. ความสามารถก่อนเข้าเรียน
|
- ไม่ต้องใส่ใจ
นักเรียนทุกคนมีจุดประสงค์และวัสดุอุปกรณ์/กิจกรรมเหมือนกันหมด
|
- การพิจารณา
- การกำหนดวัสดุอุปกรณ์/กิจกรรมแตกต่างกัน
|
5. ผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวัง
|
- ใช้โค้งมาตรฐาน
|
- มีความเป็นแบบอย่างเดียวกันสูง
|
6. ความรอบรู้
|
-
นักเรียนส่วนน้อยรอบรู้จุดประสงค์ทั้งหมด
- รูปแบบผิดพลาด
|
- นักเรียนส่วนใหญ่รอบรู้จุดประสงค์ทั้งหมด
|
7. ค่าระดับและการเลื่อนระดับ
|
- อยู่บนพื้นฐานการเปรียบเทียบกับนักเรียนคนอื่นๆ
|
- อยู่บนพื้นฐานการรอบรู้จุดประสงค์
|
8. การสอนเสริม
|
-
บ่อยครั้งที่ไม่มีการวางแผน
- ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจุดประสงค์หรือวิธีการเรียนการสอน
|
- วางแผนสำหรับนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือแสวงหาจุดประสงค์อื่นๆ
เลือกวิธีการเรียนการสอน
|
9. การใช้แบบทดสอบ
|
- กำหนดค่าระดับ
|
- เฝ้าระวังติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียน
- ตัดสินความรอบรู้
- วินิจฉัยความยากลำบาก
- ปรับปรุงการเรียนการสอน
|
10. เวลาศึกษากับความรอบรู้
|
- เวลาคงที่ :
ระดับของความรอบรู้หลากหลายแตกต่างกัน
|
- ความรอบรู้คงที่ : เวลาหลากหลายแตกต่างกัน
|
11. การตีความของความล้มเหลวที่จะไปให้ถึงความรู้
|
- นักเรียนผู้สงสาร
|
- มีความต้องการจำเป็นที่จะต้องปรับปรุงการเรียนการสอน
|
12. การพัฒนารายวิชา
|
- เลือกวัสดุอุปกรณ์ก่อน
|
- ระบุจุดประสงค์ก่อนแล้วจึงจะเลือกวัสดุอุปกรณ์
|
13. ลำดับขั้นตอน
|
-
อยู่บนพื้นฐานของเหตุผลและสังเขปหัวเรื่อง
|
-
อยู่บนพื้นฐานของสิ่งที่ต้องรู้ก่อนตามความจำเป็น และหลักการของการเรียนรู้
|
14. กลยุทธ์การเรียนการสอน
|
-
พอใจให้ผ่านได้อย่างกว้างๆ
-
อยู่บนพื้นฐานของความชอบและความคล้ายคลึง
|
- เลือกที่จะให้ได้รับตามจุดประสงค์
- ใช้ยุทธวิธีที่หลากหลาย
-อยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีและการวิจัย
|
15. การปรับปรุงการเรียนการสอนและวัสดุอุปกรณ์
|
- อยู่บนพื้นฐานของการคาดเดางาน
หรือความเพียงพอของวัสดุอุปกรณ์ใหม่
- เกิดขึ้นเป็นพักๆ
|
- อยู่บนพื้นฐานของการประเมินข้อมูล
- เกิดขึ้นเป็นประจำ
|
16. การประเมินผล
|
- บ่อยครั้งที่ไม่เกิดขึ้น
: การวางแผนเชิงระบบมีน้อย
-
ประเมินแบบอิงกลุ่ม ข้อมูลได้จากปัจจัยนำเข้าและกระบวนการ
|
- การวางแผนเป็นระบบ
: เกิดขึ้นประจำ
-
ประเมินความรอบรู้ตามจุดประสงค์
ประเมินผลอิงเกณฑ์
ข้อมูลที่ได้จากผลที่ได้รับ (ผลผลิต)
|
ที่มา : พิจิตรา ธงพานิช.
วิชาการออกแบบและการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น